วันเสาร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2558

Diary Note 22 September 2015

Dairy Note No.6

Substance

นำเสนองาน

หน่วยสัตว์ (Animals) เกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัว เด็กจะเรียนรู้จากสิ่งมีชีวิตว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร การดูแลสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ 
     การจัดกิจกรรม เป็นกิจกรรมบูรณาการ เป็นการนำเปลือกไข่มาทำเป็นโมเสก เล่านิทานและก็เชื่อมโยงเกี่ยวกับสัตว์

พลังงานลม (Wind Energy) คืออากาศที่เคลื่อนที่ เป็นพลังงานธรรมชาติที่ไม่มีวันหมดไปจากโลก
     กิจกรรมที่ทำ คือ กังหันลมกระดาษ กังหันลมเคลื่อนที่ได้เป็นเพราะอากาศที่เคลื่อนที่
อุปกรณ์

  1. การดาษสี
  2. ไม้ไผ่
  3. กาว
หิน ดิน ทราย (Rock Clay Sand) อยู่ในสาระในเรื่องธรรมชาติรอบตัว
     สาระการเรียนรู้ได้แก่ สาถานที่ใดบ้างที่สามารถ หิน ดิน ทราย มาสร้างได้ สนับสนุนให้เด็กได้ลงมือจับต้องให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตัวเองผ่านประสบการณ์ตรง
     กิจกรรมสำรวจ หิน ดิน ทราย ในบริเวณต่าง ๆ ครูเตรียม ดิน หิน ทาย และดูความแตกต่าง เด็กก็จะได้รับทักษะการเเปรียบเทียบ
     ดิน เกิดจากซากพืช ซากสัตว์ที่ทับถมกัน 
     หิน เกิดจาก การเกาะตัวของแร่ตั้งแต่ 1 ชนิดขึ้นไป
     ทราย มีลักษณะร่วนซุย ไม่เกาะตัวเป็นก้อน
     เด็กจะเกิดพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
  1. ด้านร่างกาย ได้สัมผัสสิ่งต่าง ๆ 
  2. ด้านอารมณ์-จิตใจ มีความสุข ได้สำรวจ
  3. ด้านสังคม ได้ทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น
  4. ด้านสติปัญญา เด็กได้ทดลองและเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ 
พืช (Plant)  อยู่ในสาระธรรมชาติรอบตัว
     กิจกรรม เช่น กิจกรรมการเคลื่อนไวและจังหวะของดอกไม้ เปิดเพลงและเคลื่อยไหวตามจังหวะ
     กิจกรรมเสริมประสบการณ์เกี่ยวกับ ผัก โดยการปลูกผัก เช่น ถั่วงอก ซึ่งสามารถบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เข้าด้วยกันได้ จากการทำกับกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการสังเกต ทักษะทางสังคม
     กิจกรรมแยกประเภทของเมล็ดพืช จะส่งเสริมทักษะการสังเกต เปรียบเทียบและเกิดความคิดรวบยอด
           ขั้นที่ 1 นำเมล็ดที่หาได้ผสมกัน
           ขั้นที่ 2 แยกประเภท
           ขั้นที่ 3ให้เด็กแยกในแบบอื่น เช่น สี ขนาด ชนิด
           ขั้นที่ 4 อภิปรายเด็กมีวิธีการแยกอย่างไร
ในความแตกต่างประเภทจะแบ่งเป็นไปตามเกณฑ์

ครูควรสอนอย่างไร
  • ครูควรจัดกิจกรรมให้ตรงกับพัฒนากและสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของเด็กซึ่งจะทำให้เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

เทคนิคการสอน (Technical Education)
  • อาจารย์ใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย โดยใช้โปรแกรม Power Point
  • มีการใช้ Ask and Answer ในเรื่องที่เรียนอยู่จนทำให้นักศึกษาเกิดกระบวนการเรียนรู้
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)
  • Has been ask and answer skill
  • Has been critical thinking skills
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
  • สามารถนำความรู้ที่ได้ ไม่ว่าจะเป็น เรื่อง สัตว์ พลังงานลม หิน ดิน ทราย พืช หรือหน่วยต่าง ๆ มาจัดกิจกรรมให้เด็กได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ของเด็ก
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
  • อาจารย์เข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายเรียบร้อย มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย    

วันเสาร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2558

Diary Note 15 September 2015

Dairy Note No.5

Substance

การทำงานของสมอง
     
     การทำงานของสมอง ช่วงแรกเกิด - 2ปี เด็กจะใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการรับรู้
     วิธีการรับรู้ของเด็ก คือการเล่นโดยการผ่านประสบการณ์จริง ลงมือกระทำจริง
ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
   
หลักการ/แนวคิดสู่การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก

กีเซล

  • พัฒนาการของเด็กเป็นไปอย่างมีแบบแผนไม่ควรเร่งรีบ
  • การเรียนรู้ของเด็กเกิดจากการเคลื่อนไหว การใช้ภาษา (language) การปรับตัวเข้าสู่สังคมบุคคลรองข้าง
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
  • จัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
  • ให้เด็กได้เล่นกลางแจ้ง
  • จัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ฝึกการใช้มือและประสานสัมพันธ์ระหว่างมือและตา
  • จัดกิจกรรมให็เด็กได้ฟัง ได้ท่องจำ นิทาน ร้องเพลง
ฟรอย์ (Freud)
  • ประสบการณ์ในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพของคนเราเมื่อเติบโต
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
  • ครูเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่เด็ก
  • จัดกิจกรรมเป็นขั้นตอน
  • จัดสิ่งแวดล้อม บ้าน และโรงเรียน เพื่อส่งเสริมพัฒนาบุคลิกภาพ
อิริสัน (Erikson)
  • ถ้าเด็กอยู่ในสังคมที่เด็กพอใจ เด็กจะมองโลกในแง่ดี มีความเชื่อมั่น
  • ถ้าเด็กอยู่ในสงคมที่ไม่ดี เด็กจะมองโลกในแง่แย่ ขาดความไว้วางใจ
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
  • จัดกิจกรรมให้เด็กได้ประสบความสำเร็จ พึงพอใจในสภาพแวดล้อมที่ดี
  • จัดบรรยากาศในห้องเรียน ให้เด็กได้มีโอกาศ สร้างปฏิสัมพันธ์
ดิวอี้ (Dewey)
  • เด็กเรียนรู้โดยการกระทำ Learning by doing
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
  • จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อม ให้ความรัก ให้เวลา และให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง
เปสตาลอสซี่ (Pestalozzi)
  • ความรักเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ไม่ควรบังคับเด็ก
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
  • จัดเตรียมความพร้อมให้ความรักให้เวลา
เฟรอเบล (Froeble)
  • ส่งเสริมพัฒนาการตามธรรมชาติ
เอลคายน์ (Elkind)
  • การเร่งเด็กให้เรียนรู้แต่เล็กเป็นอันตราย เด็กควรมีโอกาสเล่นและเลือกกิจกรรมการเล่นด้วยตนเอง จัดบรรยากาสให้เด็กได้มีโอกาสเล่นและเลือกกิจกรรมด้วยตัวเอง
การเรียนรู้อย่างมีความสุข
  1. การเรียนรู้จาการคิดและปฏิบัติจริง
  2. การเรียนรู้แบบองค์รวมครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน
สรุป
  • พัฒนาการเด็กให้ครบทุกด้าน เน้นให้เด็กช่วยเหลือตนเองและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรราที่จัดต้องมีความสมดุลยึดเด็กเป็นสำคัญและต้องประชาสัมพันธ์กับครอบครัวและชุมชน
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คือ เด็กได้เลือกกิจกรรมที่เด็กสนใจและครูมีหน้าที่จัดบรรยากาศในห้องเรียนให้เอื้ออำนวยกับการเรียนรู้และลงมือกระทำด้วยตนเอง

การเรียนรู้จาการคิดและปฏิบัติจริง
  1. การเรียนรู้จาการคิดและปฏิบัติจริง
  2. เรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
  3. พัฒนาทักษะการสังเกต การเปรียบเทียบ การจำแนก การสรุปความคิดรวบยอด
  4. กิจกรรมโครงการ กิจกรรมประจำวัน การเล่น
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
  1. การเปลี่ยนแปลง
  2. ความแตกต่าง 
  3. การปรับตัว
  4. การพึ่งพาอาศัยกัน
  5. ความสมดุล
การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์
  1. กำหนดปัญหา
  2. ขั้นตั้งสมมุติฐาน
  3. ขั้นรวบรวมข้อมูล
  4. ขั้นลงข้อสรุป
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
  1. ความอยากรู้อยากเห็น
  2. ความเพียรพยายาม
  3. ความมีเหตุผล
  4. ความซื่อสัตย์
  5. ความมีระเบียบและรอบคอล
  6. ความใจกว้าง
นำเสนอบทความ เลข 1-3

เลข 1 วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
     กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา เช่น การสังเกต การจำแนก การเปรียบเทียบ

เลขที่ 2 สอนลูกเรื่องปรากฎกาณ์ทางธรรมชาติ
     การเรียนรู้ทางปรากฎการณ์ทางธรรมชาติดส่งเสริมพัฒนาการทางด้าน ทักษะการค้นพบ อธิบาย ปฏิบัติ จำแนก เปรียบเทียบ

เลขที่ 3 แนวทาง สอนคิด เติมวิทยาศาสตร์ ให้กับเด็กอนุบาล
  1. ตั้งคำถาม
  2. ให้เด็กออกไปหาคำตอบ
  3. อธิบายเสริมจากคำตอบของเด็ก
  4. เด็กมานำเสนอให้เพื่อน
  5. นำข้อมูลไปเชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์
เทคนิคการสอน (Technical Education)
  • มีการ Ask a question เพื่อให้เด็กได้เกิดกระบวนการทางความคิดเพื่อหาคำตอบ
  • ใช้สื่อที่ทันสมัยในการสอน โดยการใช้ Power Point
  • มีการยกตัวอย่างให้นักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)
  • Has been ask and answer skill
  • Has been Critical thinking skill
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
  • สามารถนำความรู้ที่ได้เกี่ยวกับทฤษฎีต่าง ๆ และหลักการไปใช้ในการจัดประสบการณ์หรือจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้ตรงตามพัฒนาการของเด็กได้อย่างถูกต้อง
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
  • ในขณะที่สอนอาจารย์จะยกตัวอย่างเสมอ และถามคำเด็กเพื่อให้เด็กได้เกิดกระบวนการคิดและเพื่อให้เด็กเข้าใจยิ่งขึ้นเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
  • อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นได้อย่างเต็มที่

วันเสาร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2558

Diary Note 8 September 2015

Diary Note No.4

Substance

กิจกรรมพับกระดาษาให้เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์

     อาจารย์ให้นักศึกษาพับกระดาษเป็นอะไรก็ได้ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ จากนั้นให้นำเสนอเป็นรายบุคคล
  1. ลม (wind) หมายถึง อากาศที่เคลื่อนที่
  2. อากาศ (air) หมายถึง สิ่งทีีมองไม่เห็นแต่ มีตัวตน และต้องการที่อยู่ ซึ่งถ้าอากาศเคลื่อนที่จะกลายเป็นลม และลมก็จะทำให้เกิดพลังงาน (energy)
  3. แสง (light) จะไม่สามารถผ่านวัตุได้ จึงทำให้เกิดเป็นเงา ซึ่งแสงจะเดินทางเป็นเส้นตรง
ทฤษฏีของเพียเจต์ เด็กเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
  1. ขบวนการปรับเข้าสู่โครงสร้าง (Assimilation) หมายถึง การที่เด็กนำเอาความรู้ใหม่ เข้าไปผสมผสากลมกลืนกับครวามรู้เดิมที่มีอยู่
  2. การจัดประขยายโครงสร้าง (Accommodation)  หมายถึง การนำความรู้ใหม่ที่ได้รับไปปรับปรุงความคิิดให็เข้ากับสภาพแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม
Learning by Doing นักการศึกษาคือ John Dewy

เทคนิคการสอน (Technical Education)
  • อาจารย์ใช้เทคนิคการสอนที่หลากหลาย
  • มีการ Ask a question เพื่อให้นักศึกษาได้เกิดกระบวนการคิด
  • เริ่มจากหลักการ และนำมาสรุป
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)
  • has been critical thinking skill
  • has been ask and answer skill
  • has been creative thinking skill
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
  • สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประดิษฐ์ของเล่นในหน่วยวิทยาศตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้ รวมถึงหลักการสอนต่าง ๆ การบูรณการ อย่างไรเพื่อให้เด็กได้รับความรู้ในเรื่องของวิทยาศาสตร์
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
  • อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เป็นตัวอย่างให้แก่นักศึกษา ในการสอนนั้นอาจารย์ได้เปิดโอกาสให้เด็กได้ตอบคำถาม และมีทักษะการสอนที่หลางหลาย

วันเสาร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2558

Diary Note 1 September 2015

Diary Note No.3

Substance

อาจาย์ให้เข้าร่วมกิจกรรมศึกษาศาสตร์วิชาการ 

     สถานที่ ใต้ตึก 28


ภาคเช้าเข้าอบรบความรู้เรื่องทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 




 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Learning in the 21st Century)

  • ชีวิตในศตวรรฒที่ 21 ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเองของศิษย์ โดยครูช่วยแนะนำ และช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตอนเองได้
ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 (The Skills of people in the 21st Century)

     Learning 3R x 7C


3R

  1. Reading (อ่านออก)
  2. (W)Riting (เขียนได้)
  3. (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น)
7C
  1. Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ ทักษะในการแก้ปัญหา)
  2. Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรฒ)
  3. Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
  4. Collaboration,Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ)
  5. Communication,Information, and media Literacy (ทักษะ้านการสื่อสารสารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ)
  6. Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)
  7. Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
คุณลักษณะของครูในยุคศตวรรษที่ 21 (Features of Teacher in the 21st Century)
  1. Expanded มีความสามารถในการถ่ายทอดหรือขยายความรู้ของตนสู่นักเรียนผ่านเทคโนโลยี
  2. Experience มีประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้แบบใหม่
  3. Exploration มีความสามารถในการเสาะหาและคัดเลือกเนื้อหาความรู้หรือเนื้อหาที่ทันสมัย
  4. Extended มีทักษะการแสวงหาความรู้ใมห่ๆ เพื่อขยายองค์ความรู้ของตนเองผ่านทางสื่อเทคโนโลยี
  5. Evaluation เป็นนักประเมินที่ดี มีความบริสุทธ์ยุติกรรม และ ความสามารถในการประเมินผล
  6. End-User เป็นผู้ที่ใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างคุ้มค่า ใช้ได้อย่างหลากหลาย
  7. Efficient and Effective สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
  8. Enabler สามารถใช้เทคโนโลยีสร้างบทเรียน เนื้อหา และสื่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
  9. Engagement ต้องร่วมมือและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันผ่านสื่อเทคโนโลยีจนพัฒนาเป็นเครือข่ายความร่วมมือ

 ห้องเรียนสำหรับศตวรรษที่ 21 (Classroom for the 21st Century)

  1. Smart Classroom + Smart Learning  = Smart Students
  2. ทำให้การเรียนในห้องเรียนมีความหมายด้วย Flipped Classroom,TBL
  3. เริ่มต้นการสอน Basic Clinical Science
"การเรียนรู้แบบใช้เว็บไซต์ เพื่อสืบค้นความรู้จากตำราหรือแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่อยู่บนเว็บไซต์ได้อย่างกว้างขวาง โดยมีครูช่วยแนะนำการสืบค้น อย่างสร้างสรรค์และเหมาระสม"

สรุป
  • การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้องก้าวข้าม สาระวิชา ไปสู่การเรียนรู้ "ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21" ซึ่งครูจะเป็นผู้สอนไม่ด้ แต่ต้องให้นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูจะออกแบบการเรียนรู้ ฝึกฝนให้ตนเองเป็นโค้ช และอำนวยความสะดวก ในการเรียนรู้ ซึ่งสิ่งที่เป็นตัวช่วยในการเรียนรู้ของครูในการจัดการเรียนรู้คือ ชุมชนการเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์
ภาคบ่ายเข้าซุ้มชมนิทรรศการศึกษาศาสตร์วิชาการ
     
     ภาพกิจกรรม

ซุ้มการศึกษาปฐมวัย

ซุ้มวัด EQ

ซุ้มเซียมซีความคิด

ซุ้มพลศึกษา



ซุ้มเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์

ระบายสี 3 มิติ

ซุ้มจิตวิทยา




เทคนิคการสอน (Technical Education)
  • อาจารย์ให้เข้าร่วมกิจกรรมกับทางคณะศึกษาศาตร์ "ทักษะในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 "
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)
  • ได้รับทักษะในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ว่าเป็นอย่างไร ครูควรมีคุณลักษณะอย่างไร ห้องเรียนควรจัดอย่างไรเป็นต้น
การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
  • สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในศตวรรษที่ 21
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
  • -