Substance
การทำงานของสมอง
การทำงานของสมอง ช่วงแรกเกิด - 2ปี เด็กจะใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการรับรู้
วิธีการรับรู้ของเด็ก คือการเล่นโดยการผ่านประสบการณ์จริง ลงมือกระทำจริง
ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
หลักการ/แนวคิดสู่การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
กีเซล
- พัฒนาการของเด็กเป็นไปอย่างมีแบบแผนไม่ควรเร่งรีบ
- การเรียนรู้ของเด็กเกิดจากการเคลื่อนไหว การใช้ภาษา (language) การปรับตัวเข้าสู่สังคมบุคคลรองข้าง
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
- จัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
- ให้เด็กได้เล่นกลางแจ้ง
- จัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ฝึกการใช้มือและประสานสัมพันธ์ระหว่างมือและตา
- จัดกิจกรรมให็เด็กได้ฟัง ได้ท่องจำ นิทาน ร้องเพลง
ฟรอย์ (Freud)
- ประสบการณ์ในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพของคนเราเมื่อเติบโต
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
- ครูเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่เด็ก
- จัดกิจกรรมเป็นขั้นตอน
- จัดสิ่งแวดล้อม บ้าน และโรงเรียน เพื่อส่งเสริมพัฒนาบุคลิกภาพ
อิริสัน (Erikson)
- ถ้าเด็กอยู่ในสังคมที่เด็กพอใจ เด็กจะมองโลกในแง่ดี มีความเชื่อมั่น
- ถ้าเด็กอยู่ในสงคมที่ไม่ดี เด็กจะมองโลกในแง่แย่ ขาดความไว้วางใจ
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
- จัดกิจกรรมให้เด็กได้ประสบความสำเร็จ พึงพอใจในสภาพแวดล้อมที่ดี
- จัดบรรยากาศในห้องเรียน ให้เด็กได้มีโอกาศ สร้างปฏิสัมพันธ์
ดิวอี้ (Dewey)
- เด็กเรียนรู้โดยการกระทำ Learning by doing
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
- จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อม ให้ความรัก ให้เวลา และให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง
เปสตาลอสซี่ (Pestalozzi)
- ความรักเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ไม่ควรบังคับเด็ก
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
- จัดเตรียมความพร้อมให้ความรักให้เวลา
เฟรอเบล (Froeble)
- ส่งเสริมพัฒนาการตามธรรมชาติ
เอลคายน์ (Elkind)
- การเร่งเด็กให้เรียนรู้แต่เล็กเป็นอันตราย เด็กควรมีโอกาสเล่นและเลือกกิจกรรมการเล่นด้วยตนเอง จัดบรรยากาสให้เด็กได้มีโอกาสเล่นและเลือกกิจกรรมด้วยตัวเอง
การเรียนรู้อย่างมีความสุข
- การเรียนรู้จาการคิดและปฏิบัติจริง
- การเรียนรู้แบบองค์รวมครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน
สรุป
- พัฒนาการเด็กให้ครบทุกด้าน เน้นให้เด็กช่วยเหลือตนเองและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรราที่จัดต้องมีความสมดุลยึดเด็กเป็นสำคัญและต้องประชาสัมพันธ์กับครอบครัวและชุมชน
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คือ เด็กได้เลือกกิจกรรมที่เด็กสนใจและครูมีหน้าที่จัดบรรยากาศในห้องเรียนให้เอื้ออำนวยกับการเรียนรู้และลงมือกระทำด้วยตนเอง
การเรียนรู้จาการคิดและปฏิบัติจริง
- การเรียนรู้จาการคิดและปฏิบัติจริง
- เรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
- พัฒนาทักษะการสังเกต การเปรียบเทียบ การจำแนก การสรุปความคิดรวบยอด
- กิจกรรมโครงการ กิจกรรมประจำวัน การเล่น
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
- การเปลี่ยนแปลง
- ความแตกต่าง
- การปรับตัว
- การพึ่งพาอาศัยกัน
- ความสมดุล
การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์
- กำหนดปัญหา
- ขั้นตั้งสมมุติฐาน
- ขั้นรวบรวมข้อมูล
- ขั้นลงข้อสรุป
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
- ความอยากรู้อยากเห็น
- ความเพียรพยายาม
- ความมีเหตุผล
- ความซื่อสัตย์
- ความมีระเบียบและรอบคอล
- ความใจกว้าง
นำเสนอบทความ เลข 1-3
เลข 1 วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา เช่น การสังเกต การจำแนก การเปรียบเทียบ
เลขที่ 2 สอนลูกเรื่องปรากฎกาณ์ทางธรรมชาติ
การเรียนรู้ทางปรากฎการณ์ทางธรรมชาติดส่งเสริมพัฒนาการทางด้าน ทักษะการค้นพบ อธิบาย ปฏิบัติ จำแนก เปรียบเทียบ
เลขที่ 3 แนวทาง สอนคิด เติมวิทยาศาสตร์ ให้กับเด็กอนุบาล
- ตั้งคำถาม
- ให้เด็กออกไปหาคำตอบ
- อธิบายเสริมจากคำตอบของเด็ก
- เด็กมานำเสนอให้เพื่อน
- นำข้อมูลไปเชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์
เทคนิคการสอน (Technical Education)
- มีการ Ask a question เพื่อให้เด็กได้เกิดกระบวนการทางความคิดเพื่อหาคำตอบ
- ใช้สื่อที่ทันสมัยในการสอน โดยการใช้ Power Point
- มีการยกตัวอย่างให้นักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)
- Has been ask and answer skill
- Has been Critical thinking skill
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
- สามารถนำความรู้ที่ได้เกี่ยวกับทฤษฎีต่าง ๆ และหลักการไปใช้ในการจัดประสบการณ์หรือจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้ตรงตามพัฒนาการของเด็กได้อย่างถูกต้อง
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
- ในขณะที่สอนอาจารย์จะยกตัวอย่างเสมอ และถามคำเด็กเพื่อให้เด็กได้เกิดกระบวนการคิดและเพื่อให้เด็กเข้าใจยิ่งขึ้นเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
- อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นได้อย่างเต็มที่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น