วันเสาร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2558

Diary Note 25 August 2015

Diary Note No.2

Substance


พัฒนาการทางสติปัญญา (Cognitive Development)

  1. ความหมาย (Meaning) หมายถึง ความเจริญงอกงามด้านความสามารถทางภาษา (languages) และ การคิด (Thinking) ของแต่ละบุคคล พัฒนามาจากการมี Interaction and  Environment
  2. เริ่มตั้งแต่เกิด ผลของการปฏิสัมพันธ์จะทำให้รู้จัก "ตน" (Self) เพราะ ตอนแรกเด็กเราไม่สามารถแยกตนออกEnvironmentได้ 
  3. การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลาและตลอดทั้งชีวิตให้เกิดEquilibrium
  4. การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อให้เกิดความสมดุลกับสิ่งแวดล้อม

กระบวนการปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ประกอบด้วย 2 ประเภท
  1. กระบวนการดูดซึม (Assimilation)
    - Fitting a new experience it to an existing mental structure (schema).
      เมื่อมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมก็จะซึบซับหรือดูดซึมประสบการณ์ใหม่ให้รวมเข้าในโครงสร้างของสติปัญญา โดยจะเป็นการตีความ
  2. กระบวนการปรับโครงสร้าง (Accommodation) 
    - Revising and existing schema because of new experience.
      หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงความคิดเดิมให้สอดคล้องกับประสบการณ์ใหม่
สรุป
  • สติปัญญาจึงเกิดจากการเริ่มแนวคิดและพฤติกรรมจนเข้าสู่ภาวะสมดุล
เทคนิคการสอน (Technical Education)
  • อาจารย์ใช้เทคนิคการสอนที่ทันสมัย มีการใช้ Power Point มาช่วยในการสอน
  • ใช้เทคการ Ask a question เพื่อให้นักศึกษาได้เกิดกระบวนการคิด
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills) 
  • ได้รับทักษะการในการคิดและการตอบคำถาม
การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
  • สามารถนำความรู้ที่ได้ about Cognitive Development ไปใช้ในการจัดประสบการณ์ให้ตรงไปตามพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
  • อาจารย์มีเทคนิคการสอนที่หลายเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
  • เข้าสอนตรงเวลา เป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่นักศึกษาได้

วันศุกร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2558

สรุปบทความวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

สรุปบทความ

     เรื่อง : วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (Science for Early Childhood) 
     ผู้เขียน : บุญไทย แสนอุบล 

     การเรียนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยนั้นมิใช่หมายถึงสาระทางเคมี ชีววิทยา แต่เด็กปฐมวัยนั้นจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กและธรรมชาติเป็นหลักสำคัญ ซึ่ง ดร.ดินา สตาเคิล ได้แบ่งสาระทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้ 4 หน่วย ดังนี้
   
     หน่วยที่ 1 การสังเกตโลกรอบตัว
     หน่วยที่ 2 การรับรู้ทางประสาทสัมผัสและการรับรู้
     หน่วยที่ 3 รู้ทรงและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
     หน่วยที่ 4 การจัดหมู่และการแยกประเภท

     ในการเรียนหน่วยวิทยาศาสตร์ทั้ง 4 เด็กจะตั้งใช้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่

  1. การสังเกต
  2. การจำแนกประเภท
  3. การสื่อความหมาย
  4. ทักษะการลงความเห็น
    ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

     การเรียนวิทยาศาสตร์เป็นการเรียนการแก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผล ซึ่งกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยสามารถเรียนรู้ได้โดยครูกับเด็กช่วยกันคิดและปฏิบัติ แบ่งเป็น 5 ขั้นดังนี้

     ขั้นที่ 1 การกำหนดขอบเขตของปัญหา 
ครูกับเด็กร่วมกันคิดตั้งประเด้กปัญหาสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ร่วมกัน เช่น ต้นไม้โตได้อย่างไร
     ขั้นที่ 2 ตั้งสมมุติฐาน 
เป็นขั้นของการวางแผนร่วมกัน ในการที่จะทดลองหาคำตอบจากการคาดเดาล่วงหน้า
     ขั้นที่ 3 ทดลองและเก็บข้อมูล 
เป็นขั้นตอนที่ครูกับเด็กร่วมกันดำเนินการตามแผนการทดลองตาสมมุติฐานที่ตั้งไว้ในขั้นที่ 2
     ขั้นที่ 4 วิเคราะห์ข้อมูล 
ครูและเด็กนำผลการทดลองมาสนทนา อภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็นร่วมกัน
     ขั้นที่ 5 สรุปผลคำตอบสมมุติฐาน ว่าผลที่เกดคืออะไร เพราะอะไร ทำไม
     
     กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทั้ง 5 ขั้น เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่งเป็นวัฏจักร ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ต้องนำมาใช้ในกระบวนการ คือ การสังเกต การจำแนกประเภทและเปรียบเทียบ การวัด การสื่อสาร การทดลอง การสรุปและการนำไปใช้ 

     เป้าหมายของการเรียนวิทยาศาสตร์
  1. ให้เด็กได้ค้นคว้าและสืบค้นสิ่งต่าง ๆ และปรากฎการณ์ที่มี
  2. ให้เด็กได้ใช้ประบวนการทักษะทางวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริง
  3. กระตุ้นความอยากรู้อยากเห็น ความสนใจ  และเจตคติของเด็กให้พบ
  4. ช่วยให้เด็กค้นหาข้อมูลความรู้บางอย่างที่เป็นวิทยาศาสตร์ที่สัมพันธ์กับชีวิตประจำวันและการสืบค้น
     สาระที่เด็กต้องเรียน
  1. สาระเกี่ยวกับพืช เช่น พืช ต้นไม้ ดอกไม้
  2. สาระเกี่ยวกับสัตว์ เช่น ประเภทของสัตว์ สวนสัตว์
  3. สาระเกี่ยวกับฟิสิกส์ เช่น การจม การลอย
  4. สาระเกี่ยวกับเคมี เช่น รสของผลไม้ ความร้อน
  5. สาระเกี่ยวกับธรณีวิทยา เช่น ดิน ทราย หิน
  6. สาระเกี่ยวกับดาราศาสตร์ เช่น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์
     หลักการจัดกิจกรรม 
     หลักการจัดกิจกรรมสามารถแบ่งได้ 5 ข้อ ดังนี้
  1. เป็นเรื่องใกล้ตัวเด็ก
  2. เอื้ออำนวยให้แก่เด็กที่กระทำ
  3. เด็กต้องการและสนใจ
  4. ไม่ซับซ้อน
  5. สมดุล
     สิ่งที่ได้จากวิทยาศาสตร์นั้น คือ การสร้างให้เด็กมีนิสัยในการค้นคว้า การสืบค้น และการเข้าใจสภาพแวดล้อมรอบตัว รู้จักการค้นหาความรู้อย่างนักวิทยาศาสตร์ โดยการพัฒนาทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 

วันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2558

Diary Note 11 August 2015

Diary Note No.1

Substance

Learning Outcomes
  1.คุณธรรม จริยธรรม
  2.ความรู้ (Knowledge)
  3.การใช้เทคโนโลยี
  4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
  5.ทักษะทางปัญญา
  6.การจัดการเรียนรู้

3 Key words for Science Experience Management for Early Childhood
Early Childhood

  • Development --> Intelligence is language and thinking
                                     Thinking --> Inventive and Logical (Match and Science)
  • How to learn --> เรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 Eyes : See, Ears : Listen, Tongue : Tasted, Nose : ดมกลิ่น, Body : Touch
Science
  • Syllabus
             - เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก (Stories about children)
             - บุคคลและสภาพแวดล้อม (People and the environment)
             - ธรรมชาติรอบตัว
             - สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก
  •   Science Skills
             - Observe skill
             - Skill การจำแนกประเภท
             - Meaning skill
             - Skill การลงความเห็นจากข้อมูล
             - Skill ความสัมพันธ์ระหว่างสเปชกับสเปส และ เวลากับเวลา
             - Skill การคำนวณ
  • Experience Management
             - หลักการจัดประสบการณ์
             - เทคนิคการจัดประสบการณ์
             - กระบวนการจัดประสบการณ์
             - ทฤษฎีการจัดประสบการณ์
             - สื่อและสภาพแวดล้อมสนันสนุนการจัดประสบการณ์
             - การคำนวณ (Evaluation)

เทคนิคการสอน (Techninal Education)

  • อาจารย์เปิดโอกาสให้เด็กได้ตอบคำถามพร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ 
  • เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการสอน

ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills) 

  • Has been critical thinking skills
  • Has been ask and answer skills

การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption) 

  • สามารถนำความรู้ที่ได้นำไปใช้ในการ Design and Activities  

ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)

  • อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา เปิดโอกาสให้เด็กได้ตอบคำถาม และมีทักษะการสอนที่หลากหลาย